วันอาทิตย์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2558

ฟังก์ชันกำลังสอง

     กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง มีชื่อเรียกว่า พาราโบลา ซึ่งลักษณะของกราฟของฟังก์ชันขึ้นอยู่กับค่าของ a , b และ c และเมื่อ a เป็นบวกหรือลบ จะทำให้ได้กราฟเป็นเส้นโค้งหงายหรือคว่ำ  อ่านเพิ่มเติม

                                                     

บทที่ 4 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ฟังก์ชันเชิงเส้น

    ฟังก์ชันเชิงเส้น คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = ax+b เมื่อ a ,b เป็นจำนวนจริง และ http://www.vcharkarn.com/userfiles/74451/29-3-2556%2016-13-01.png กราฟของฟังก์ชันเชิงเส้นจะเป็นเส้นตรง  อ่านเพิ่มเติม

                                      

ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง

     ค่าสัมบูรณ์ หรือ มอดุลัส (อังกฤษ: absolute value หรือ modulus) ในคณิตศาสตร์ คือ ผลต่างระหว่างจำนวนนั้นกับ 0 พูดง่ายๆคือ จำนวนที่ไม่มีเครื่องหมายลบ ตัวอย่างเช่น 3 คือค่าสัมบูรณ์ของ 3 และ 3  อ่านเพิ่มเติม

                                       

บทที่ 3 จำนวนจริง

จำนวนจริง คือจำนวนที่สามารถจับคู่หนึ่งต่อหนึ่งกับจุดบนเส้นตรงที่มีความยาวไม่สิ้นสุด (เส้นจำนวน) ได้ คำว่า จำนวนจริง นั้นบัญญัติขึ้นเพื่อแยกเซตนี้ออกจากจำนวนจินตภาพ จำนวนจริงเป็นศูนย์กลางการศึกษาในสาขาคณิตวิเคราะห์จำนวนจริง (real analysis)  อ่านเพิ่มเติม

                      

การให้เหตุผลแบบนิรนัย

     การให้เหตุผลแบบนิรนัย (อังกฤษ: Deductive reasoning) หรือ การให้เหตุผลจากบนลงล่าง (อังกฤษ: top-down logic) เป็นการนำความรู้พื้นฐานซึ่งอาจเป็นกฎ ข้อตกลง ความเชื่อ หรือบทนิยาม อ่านเพิ่มเติม \

                                                        


บทที่ 2 การให้เหตุผล การให้เหตุผลแบบอุปนัย

    การให้เหตุผลแบบอุปนัย (อังกฤษ: Inductive reasoning) หรือ การให้เหตุผลจากล่างขึ้นบน (อังกฤษ: bottom-up logic) เป็นวิธีการสรุปผลมาจากการค้นหาความจริงจากการสังเกตหรือการทดลองหลายครั้ง แล้วนำมาสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไป

  

เอกภพสัมพัทธ์

   เอกภพสัมพัทธ์ คือ เซตที่ถูกกำหนดขึ้นโดยมีข้อตกลงว่า จะกล่าวถึงสิ่งที่เป็นสมาชิกของเซตนี้เท่านั้น จะไม่กล่าวถึงสิ่งอื่นใดที่ไม่เป็นสมาชิกของเซตนี้ โดยทั่วไปจะใช้สัญลักษณ์ แทนเซตที่เป็นเอกภพสัมพัทธ์ อ่านเพิ่มเติม